วันนี้แอดมินก็จะมาติดตามประเด็นข่าว ลูกพญาแร้งไทย ลืมตาแล้วในรอบ 30 ปี เทศบาลประจำผืนป่า ให้ทุกท่านได้ดูภาพ อันน่าตื่นเต้นนะคะ เป็นภาพของสิ่งมีชีวิต ที่ลืมตาดูโลกนะคะ หลังจากที่ลูกพญาแร้ง ตัวแรกของไทยนะคะ ลืมตาดูโลกในรอบกว่า 30 ปี วันนี้ก็จะพาทุกท่าน มาดูภาพ นาทีประทับใจนี้ ไปพร้อมกันค่ะ แต่ก่อนที่จะไป แอดมินก็จะฝากทุกท่าน ให้ไปติดตาม ดวงอาทิตย์เทียม ให้พลังงานนิวเคลียร์ฟิวชันบ้าน 12,000 หลัง กันด้วยนะคะ แล้วในวันนี้แอดมิน ก็ต้องขอขอบคุณ เบทฟิก68 ที่สนับสนุนบทความ ของเราในวันนี้ด้วยค่ะ 

ลูกพญาแร้งไทย
เปิดตัวเป็นที่เเรกในโลก

ลูกพญาแร้งไทย ลืมตาแล้วในรอบ 30 ปี เทศบาลประจำผืนป่า

ทางเฟสบุ๊คโครงการฟื้นฟูประชากรพญาแร้ง ในถิ่นอาศัยของประเทศไทย ได้แจ้งข่าวดีมานะคะ เป็นวินาทีที่พญาแร้งตัวแรกในป่าห้วยขาแข้ง ลืมตาดูโลกเมื่อวันที่ 9 กุมภาพันธ์ ปี 2567 นะคะ หลังจากที่พญาแร้งสูญพันธุ์จากธรรมชาติไปถึง 30 ปีค่ะ ทั้งนี้ลูกพญาแร้งตัวนี้

ใช้เวลาในการกะเทาะเปลือก นานถึง 70 ชั่วโมงเลยค่ะ ใช้เวลาเกือบ 3 วันเลยนะคะ พ่อของเค้าชื่อแจ็ค และแม่ของเค้าชื่อมิ่ง 2 พญาแร้ง พยายามนอนกกไข่มานานกว่า 55 วัน แล้วก็ช่วยทุกทางเพื่อให้ลูกน้อย ลูกพญาแร้งเนี่ยกะเทาะออกมาจากไข่ให้ได้ ถือเป็นความหวัง

ของผืนป่าบ้านเราเลยนะคะ และจุดมุ่งหมาของโครงการฟื้นฟูและเพิ่มจำนวนประชากรพญาแร้งในกรงเลี้ยง และบริเวณพื้นที่บริเวณมรดกโลกทางธรรมชาติทุ่งใหญ่ห้วยขาแข้งให้เพิ่มมากขึ้นนั่นเองนะคะ เป็นภาพที่น่าประทับใจมากเลยนะคะ ก็มีข้อมูลนะคะจากมูลนิธิสืบเสถียรที่ระบุว่า

ลูกพญาแร้งไทย
จากมูลนิธิสืบนาคะเสถียร

ประเทศไทยเคยมีแร้งอยู่ในธรรมชาติทั้งหมดด้วยกันห้าชนิดค่ะ เป็นแร้งประจำถิ่นสามชนิดได้แก่ พญาแร้งแร้งเทา แร้งขาว แร้งสีน้ำตาล แต่ปัจจุบันนี้แล้งประจำถิ่นของไทยทั้งสามชนิดนี้ ถูกจัดอยู่ในสถานะสูญพันธุ์ไปแล้ว จากธรรมชาติ หลังจากเกิดโศกนาฏกรรมใจกลางพื้นป่าห้วยขาแข้งในปี 2535 ที่ทำให้พญาแร้งล้มตายเกือบยกฝูงเลยนะคะ แต่ว่าประเทศไทยมีพญาแร้งที่อยู่ในกรงเลี้ยงที่ได้มาจากการพัดหลงจากการ

อพยพห้าตัวจึง ถือเป็นโอกาสสำคัญ ในการฟื้นฟูประชากร พญาแร้งแห่งประเทศไทย อีกครั้ง ทั้งนี้สัตว์ตระกูลแร้ง เปรียบเสมือนเทศบาลประจำป่าค่ะ ผู้มีหน้าที่ทำความสะอาด ในการกินซากสัตว์ที่ตายแล้ว เป็นการตัดวงจรการขยายพันธุ์ของโรคระบาด ถือว่ามีความสำคัญอย่างมาก ในฐานะผู้ดูแลสุขภาพของป่าให้ปลอดภัยจากโรคร้าย ทำให้เกิดการหมุนเวียนของห่วงโซ่อาหารที่สำคัญ ในระบบนิเวศ และเป็นสัตว์ที่

ตัวชี้วัดความอุดมสมบูรณ์ของผืนป่าใหญ่ โครงการฟื้นฟูพญาแร้ง ฟื้นฟูประชากรพญาแร้งในประเทศไทยยังคงดำเนินต่อไป ซึ่งก็สามารถร่วมเป็นส่วนหนึ่งผ่านการบริจาคได้นะคะ